เรียนรู้การวิเคราะห์ วิธี การคิดเชิงวิเคราะห์ มีความจำเป็นอย่างไร?
เรียนรู้การวิเคราะห์ เป็นความจริงที่ว่า ในหลาย ๆ องค์กรในปัจจุบัน ที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก อาจจะตกอยู่ ในสภาพที่ย่ำแย่ได้ เพราะว่าปัญหาส่วนใหญ่ มักจะเกิดขึ้นมา จากเรื่องของการ บริหารงานที่อาจจะ เกิดความผิดพลาด ซึ่งอาจจะไม่มาก แม้แต่เพียงน้อยนิด ก็สามารถเกิด ปัญหาได้แล้ว
โดยเฉพาะบางแห่ง ที่ตามพวกเทคโนโลยี ไม่ค่อยจะทันด้วยแล้ว ยิ่งเกิดปัญหามากกว่า องค์กรที่ตามเทคโนโลยีทัน หรือถ้าเราจะพูด ให้เข้าใจกันง่าย ๆ อย่างพวกคนหัวเก่า นั่นแหละครับซึ่งทั้งหลายทั้งมวล ก็มาจากการขาด ทักษะและการ สังเคราะห์ เรื่องความคิดอย่าง รอบคอบนั่นเอง
เรียนรู้การวิเคราะห์ ทำให้ วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ มาช่วยให้อยู่บน พื้นฐานของความเป็นจริง
ทำให้แนวการคิด เรียนรู้การวิเคราะห์ ที่ว่าสำคัญแล้วบางอย่าง ยังสำคัญน้อยกว่า การวิเคราะห์เป็น เพราะในบางองค์กร ไม่ชอบที่จะมุ่งเน้น เรื่องของความสำคัญ ที่มากพอรวมไปถึง ใช้เวลาที่ไม่คุ้มค่า หรือไม่ก็ชอบ ที่จะกระโดดข้าม ขั้นตอนหรือใช้ประสบการณ์ แบบเดิม ๆ มาด่วนสรุป
ซึ่งบางครั้งมีชื่อ ที่พอจะคุ้นหู กันบ้างเกี่ยวกับ แนวความคิดแบบ รอบด้านหรือความคิด แบบรอบคอบที่ ภาษาวิชาการ เขาเรียกกันว่า การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking สิ่งนี้เรียกได้ ว่าเป็นทักษะที่ สามารถที่จะ learning
เรียนรู้การวิเคราะห์ สามารถฝึกฝนกันได้ ในชีวิตประจำวัน แต่บอกเลยมันไม่ สามารถเกิดขึ้นได้ เหมือนกับการ เอาตัวอย่างมาจากการ dooseries
แน่นอนว่ามีบางคน ที่เห็นเรื่องนี้เป็น ความจำเป็นอย่างมาก และก็เคยฝึกกัน มาบ้างแล้วแต่ ทุกท่านทราบหรือไม่ครับ ว่ามันเป็นความแตกต่าง อย่างมากมาย ระหว่างเคยทำอยู่บ้าง กับการทำให้เป็นกิจวัตร อย่างสม่ำเสมอ และตลอดเวลา
วันนี้เราอยากจะ ได้นำเอาทักษะดี ๆ เช่นนี้อย่างการฝึก คิดเชิงพิพากษ์ ที่สามารถนำมา ใช้ได้ในชีวิต ประจำวันของเรา ด้วยวิธีที่เรา จะได้เอามานำเสนอ กันต่อไปนี้เลยครับ
ก่อนอื่นหาทางสร้าง แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้
1. ลองตั้งคำถาม กับข้อสรุปที่เคยมี เชื่อว่าหลาย ๆ องค์กรส่วนใหญ่ ใช้ข้อสรุปในอดีต แล้วเอากลับมา ตั้งคำถามใหม่ว่า สิ่งที่เขาเคยสรุปไปแล้วนั้น มันเกิดขึ้นจริง ตามนั้นหรือไม่ และการที่มีบทสรุป ที่ผ่านมานั้น ได้เกิดประโยชน์อะไรขึ้น หรือมากกว่าหรือไม่ และอะไรคือ ตัว ชี้ วัด
เรื่องนี้อย่ามุ่งเน้น ไปในหลักแห่งปรัชญา กันนะครับ ควรจะมุ่งเน้น เรื่องของความเป็นจริงเป็นหลัก ตัวอย่างที่ควร จะตั้งคำถามได้แก่ เมื่อพูดถึงแผน ในระยะยาว ที่จะมาช่วยให้ บริษัทหรือองค์กร สามารถเติบโตได้ ให้ที่จะตั้งคำถาม ว่ามันจะเติบโตได้อย่างไร
เพราะประเด็นไม่ดีเท่า How to หรืออย่างฝ่ายการตลาด กำลังมีการคาดเดา ว่าสภาพตลาด ในอนาคตจะเป็นแบบนั้น เป็นแบบนี้ เรื่องนี้มีข้อมูล อะไรมารองรับเป็นต้น โดยเฉพาะข้อสรุปต่าง ๆ ยังคงสามารถสรุป ไปในแนวทางอื่น ๆ ได้หรือไม่ ซึ่งทั้งหมดนี้ควร เรียนรู้การวิเคราะห์ เพื่อจะต้องตีกรอบ ในแต่ละเรื่อง ให้ชัดจริง ๆ เท่านั้น
จัด ตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แล้วนำมาย่อย ด้วยกันอีกที
2. หาทางที่จะฝึก การใช้ ตรรกะ ให้ถูกต้องมากที่สุด แน่นอนแหละว่า องค์กรทั่วไป มักจะตั้งอยู่บนเหตุผล อยู่แล้วเพื่อจะได้ มาซึ่งข้อสรุป และช่วยผลักดัน ผลประโยชน์ แต่ปัญหาคือ มักจะมีเหตุผล แบบที่ไม่สมบูรณ์ จำเป็นที่จะต้องเพิ่มเรื่อง เรียนรู้การวิเคราะห์ เข้าไปให้มาก ๆ
หรือที่เรียกกันว่า ตรรกะเพี้ยนนั่นแหละ อย่างถ้ามีข้อมูล ที่ยืนยันมาแล้วว่า อาหารฮาลาล สามารถที่จะขายดีได้นะ ในแถบทวีปเอเชีย แต่เดี๋ยวก่อน อย่าลืมว่าคนญี่ปุ่น ไม่สนใจอาหารแบบนี้ แล้วตัวเลขที่ได้มานี่ อาจจะเป็นตัวเลข ที่มาเฉพาะแถบ ที่เป็นมุสลิมเป็นหลัก
อย่างที่บอก เรียนรู้การวิเคราะห์ ต้องมีการคิดให้ได้ ว่าเหตุผลนั้นมัน สมจริงหรือว่า ครอบคลุมหรือไม่ เพราะว่าเรามองแต่ตัวเลข ควรที่จะหาทาง ออกแบบ วิธีการคิดซึ่งอาจจะ ไม่ช่วยเท่าไรเพราะว่า ตลาดของความเป็นจริง ถือว่ายังไม่ถูก โดยเฉพาะบางครั้ง เราอาจจะอยู่กับ ข้อมูลที่เป็นความ บังเอิญเท่านั้น ซึ่งไม่ใช่เรื่องของ ความเป็นจริงในเวลานั้น ๆ
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ หรือแนวคิดใหม่
3. พยายามที่จะหา วิธีการคิดแบบใหม่ ๆ และควรจะนำเอามาใช้ เป็นธรรมดาอยู่แล้ว ที่คนส่วนใหญ่มักจะอยู่บน พื้นฐานของความเคยชิน และความสบายใจมากกว่า และนี่จะเป็นสาเหตุ ให้คนที่มักจะมีความคิด ที่เหมือนกันมาอยู่รวมกัน
ทำให้การสื่อสาร หรือบางครั้งแนวความคิด เน้นไปที่เรื่องของ ความเข้ากันได้เป็นหลัก แต่ถ้าหากว่าเรามองในมุมกลับ การทำเช่นนี้ จะทำให้แนวความคิด ของกลุ่มนี้หรือ คนในองค์กรนี้ อาจจะอยู่ในวงแคบ ๆ ไม่หลากหลาย ที่เราจำเป็นจะต้องมานั่ง วิเคราะห์ ความต้องการของผู้เรียน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ
หรือไม่อาจจะ ต้องยอมรับสิ่งใหม่ ๆ อย่างเลือก เรียนรู้การวิเคราะห์ โดยเฉพาะถ้าหาก จำเป็นจะต้องมี การเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ ๆ ตัวอย่างที่บางครั้ง เราก็มักจะเลือกชม หรือเสพสื่อออนไลน์ เฉพาะในแบบ ที่เราชอบนั่นเอง
และเมื่อเราเปิด หน้าเฟสบุ๊คขึ้นมา ทุกครั้งในหน้าฟีดของเรา ก็จะพบแต่ความคิดเห็น หรือข่าวสารที่คล้ายกันกับเรา และเหตุการณ์แบบนี้ ที่เขาเรียกกันว่า ห้องแห่งแสงสะท้อนหรือ Echo Chamber ครับ
การวิเคราะห์ เพื่อ ออกแบบการจัดการ เรียน รู้ ที่นอกเหนือจากอารมณ์
4. จำเป็นที่จะไม่ใช้ อารมณ์มาช่วย ในการตัดสินใจ บางครั้งถ้าหากว่า เกิดความรีบด่วนขึ้นมา จำเป็นจะต้องมี การลัดขั้นตอนของ ขบวนการคิด ทำให้เหตุผลหลายอย่าง ไม่ถูกเอามาประมวลผล รวมอยู่ด้วย
อย่างเช่นหากเรา อยู่ในสถานการณ์ ที่กำลังทะเลาะหรือ ไม่เข้าใจกัน การใช้อารมณ์ ในตอนนั้นจะมี เหตุผลที่ต้อง เข้าข้างตัวเองว่า ทำถูกแล้วแบบเต็มร้อย และไม่สนใจ ความคิดของเพื่อนร่วมงาน แถมคิดกลับ ในแง่ลบอีก
และคิดว่าทำไม มีแต่คนอื่นที่เปลี่ยนไป ซึ่งเรื่องนี้จะเป็น อันตรายมากสำหรับ องค์กรเลยทีเดียว จำเป็นที่เราจะต้อง ควบคุมสติและ ฟังเหตุผลให้มาก ยิ่งขึ้นไปอีก แต่ถ้าเราเป็น ผู้ที่ไม่มีอำนาจ ในการตัดสินใจ ผลของเรื่องนี้ จะเสียหายน้อยแต่ ถ้าหากว่าคนคนนั้น เป็นผู้ที่มีอำนาจ ในการตัดสินใจ อาจส่งผลให้เกิด ความเสียหายที่ใหญ่หลวง ได้นั่นเองครับ
ทุกสิ่งถือว่า เป็นเรื่องสำคัญ ที่จะนำพาองค์กร ให้ฝ่าทุกด่าน ของอุปสรรคไปได้ที่ สำคัญพยายามออกมาจาก เรียนรู้การวิเคราะห์ สังคมแบบเดิม ๆ และพยายามปรับแนวคิด ในแบบที่เป็น สังคมแบบใหม่ ๆ หรือต่างเพศ และต่างวัยอาจจะต้องไปฝึก เรียนรู้ถ่ายภาพอาชีพ เพิ่มเติมบ้างเพื่อจะหา แวดวงใหม่ ๆ นั่นเอง
การทำเช่นนี้จะทำให้เกิด วิธีการวิเคราะห์ผู้เรียน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจะได้ค้นพบ กับแง่มุมใหม่ ๆ ที่จะช่วยเปิด แนวคิดของคุณ ให้กว้างมากยิ่งขึ้น และจะได้มาเป็น ตัวช่วยให้การคิด และทำให้การ วิเคราะห์ของคุณมี ความเฉียบคมและ แข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น
หรือที่เรียกว่ามี กระบวนการ คิด ที่สามารถนำไปใช้ ได้จริงและเป็นประโยชน์ อย่างมากต่อองค์กร ถ้ามีความสามารถ กันในระดับนี้แล้ว ก็สามารถนอน ดูซีรีย์ HD ที่บ้านได้แบบ สบายใจกันแล้วล่ะครับ
—*—อ้ายตัวกลม